000 02936nam a2200253 a 4500
008 210209s2564 th a 000 0 tha d
020 _a9789740339946 :
_c240
040 _aBSRU
082 0 4 _a808.066
_bส555น 2564
100 0 _aสัญญา เคณาภูมิ
245 1 0 _aแนวทางและเทคนิคการเขียนผลงานวิชาการ /
_cสัญญา เคณาภูมิ
260 _aกรุงเทพฯ :
_bสำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
_c2564
300 _a189 หน้า ;
_c26 ซม.
520 _aความเป็นวิชาการ คือ ความพยายามอธิบายระบบและกลไกของสิ่งใดสิ่งหนึ่งในโลกหรือจักรวาลนี้ว่ามีลักษณะอย่างไรบ้าง ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจำแนกออกเป็นสองสายใหญ่ ๆ ได้แก่ ศาสตร์ธรรมชาติ หรือศาสตร์บริสุทธิ์ (์Natural Science or Pure Science) เป็นองค์ความรู้ที่อธิบายสภาวะของสรรพสิ่งในธรรมชาติ เช่น ดิน ฟ้า อากาศ สัตว์ และทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (Humanity and Social Science) เป็นองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับตัวมนุษย์ทั้งที่เป็นปัจเจกบุคคล (มนุษยศาสตร์) และกลุ่มบุคคล (สังคมศาสตร์) โดยองค์ความรู้ทั้งสองสายนี้มีลักษณะที่เป็นทั้งความรู้พื้นฐาน (Basic Knowledge) ที่อธิบายถึงสภาวะโดยธรรมชาติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งและความรู้ประยุกต์ (Apply Knowledge) ซึ่งเกิดจากมนุษย์พัฒนาต่อยอดเพื่อสนองตอบความต้องการในการนำไปใช้ประโยชน์
650 4 _aเศรษฐศาสตร์
_xระเบียบวิธีทางสถิติ
650 4 _aความน่าจะเป็น
_9960
650 4 _aสถิติ
856 4 _3ดูปกและสารบัญ (see cover and contents)
_uhttps://opacb.bsru.ac.th/book/File113183.pdf
900 _a21/03/23
901 _aTh Lang.
901 _anew_mar21
940 _a283595
942 _2ddc
_c1
999 _c113183
_d113183
039 _c17232
_dชมพูนุท ชาญจรัสพงศ์