คิวบิสม์ / นีล ค็อกซ์, เขียน ; วรเทพ อรรคบุตร และ อณิมา ทัศจันทร์, แปล
Call number: 709.04 ค183ค 2557 Material type: BookLanguage: Thai Original language: English Publisher: กรุงเทพฯ : เดอะเกรทไฟน์อาร์ท, 2557Description: 447 หน้า : ภาพประกอบ ; 22 ซมISBN: 9786169119135 :Subject(s): ศิลปะคิวบิสม์DDC classification: 709.04 ค183ค 2557 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: คิวบิสม์เป็นการปฏิวัติครั้งสำคัญที่สุดในช่วงต้นศตวรรษที่ 21 มันจะคอยตั้งคำถามทั้งหมดที่เกี่ยวกับศิลปะใหม่อีกครั้ง และยืนกรานว่าศิลปะไม่ใช่สิ่งที่ต้องจัดการกับโลตามที่เป็นอยู่จริงแต่ต้องจัดการตามวิธีที่เราเห็นและรู้จักมันเท่านั้น การเคลื่อนไหวแบบใหม่อันสุดโต่งที่ว่านี้เป็นการสร้างสรรค์ของศิลปินสองท่าน คือ ศิลปินชาวฝรั่งเศส ฌอร์ช บราก และศิลปินชาวสเปน ปาโบล ปิกัสโซ ทั้งคู่สร้างผลงานเคียงบ่าเคียงไหล่กันมาตั้งแต่ช่วงปี ค.ศ. 1907 และ 1914 ในกรุงปารีสเป็นหลัก ซึ่งถือเป็นศูนย์กลางด้านศิลปะของโลก แนวคิดนี้พัฒนามาจากรอยแยกของศิลปะในช่วงหลายสิบปีก่อนหน้า และถือว่าเป็นศิลปะหนี้บุญคุณต่อผลงานของปอล เซซาน มากเป็นพิเศษ ทว่าก็เป็นผลของการมองศิลปะที่ "ไม่ใช่แนวตะวันตก" ด้วยวิถีทางใหม่ด้วยเช่นกันItem type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900 | Non-fiction | 709.04 ค183ค 2557 (Browse shelf(Opens below)) | 3 | Available | 3000030609 | |
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900 | Non-fiction | 709.04 ค183ค 2557 (Browse shelf(Opens below)) | 4 | Available | 3000030610 |
คิวบิสม์เป็นการปฏิวัติครั้งสำคัญที่สุดในช่วงต้นศตวรรษที่ 21 มันจะคอยตั้งคำถามทั้งหมดที่เกี่ยวกับศิลปะใหม่อีกครั้ง และยืนกรานว่าศิลปะไม่ใช่สิ่งที่ต้องจัดการกับโลตามที่เป็นอยู่จริงแต่ต้องจัดการตามวิธีที่เราเห็นและรู้จักมันเท่านั้น การเคลื่อนไหวแบบใหม่อันสุดโต่งที่ว่านี้เป็นการสร้างสรรค์ของศิลปินสองท่าน คือ ศิลปินชาวฝรั่งเศส ฌอร์ช บราก และศิลปินชาวสเปน ปาโบล ปิกัสโซ ทั้งคู่สร้างผลงานเคียงบ่าเคียงไหล่กันมาตั้งแต่ช่วงปี ค.ศ. 1907 และ 1914 ในกรุงปารีสเป็นหลัก ซึ่งถือเป็นศูนย์กลางด้านศิลปะของโลก แนวคิดนี้พัฒนามาจากรอยแยกของศิลปะในช่วงหลายสิบปีก่อนหน้า และถือว่าเป็นศิลปะหนี้บุญคุณต่อผลงานของปอล เซซาน มากเป็นพิเศษ ทว่าก็เป็นผลของการมองศิลปะที่ "ไม่ใช่แนวตะวันตก" ด้วยวิถีทางใหม่ด้วยเช่นกัน
There are no comments on this title.