เรือนโบราณล้านนาในลุ่มน้ำปิงพิพิธภัณฑ์เรือนโบราณล้านนามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ = Lanna houses in the Ping River watersged area Lanna traditional house museum, Chiang Mai University / ฐาปนีย์ เครือระยา, ชุติมา พรหมาวัฒน์, วาสนา มาวงค์ ; สมพร วาร์นาโด, แปลภาษาอังกฤษ
Call number: 727.6 ฐ319ร 2565 Material type: BookPublisher: เชียงใหม่ : สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2565Description: 149 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซมISBN: 9786163987105 :Other title: Lanna houses in the Ping River watersged area Lanna traditional house museum, Chiang Mai UniversitySubject(s): พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณล้านนา (เชียงใหม่) | เรือนไทย | สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น -- ไทย (ภาคเหนือ) | สถาปัตยกรรมที่อยู่อาศัย -- ไทย (ภาคเหนือ) | สถาปัตยกรรมไทย | บ้าน -- ไทย (ภาคเหนือ) | ไทย (ภาคเหนือ) -- ความเป็นอยู่และประเพณีDDC classification: 727.6 ฐ319ร 2565 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้มีการรวบรวมเรือนโบราณมาตั้งแต่ พ.ศ. 2537 จนกระทั่ง พ.ศ. 2545 จึงตั้งชื่อว่า "พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณล้านนา" ต่อมาได้เปิดให้เข้าชมอย่างเป็นทางการโดยมีอัตราธรรมเนียมเข้าชมเป็นครั้งแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 นับเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกในเขตภาคเหนือที่สร้างพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งเป็นแหล่งรวบรวมอนุรักษ์เรือนโบราณลักษณะต่าง ๆ ในเขตลุ่มน้ำปิง ที่มีอายุเวลาร่วมสมัยนับร้อยปี ด้วยเล็งเห็นว่าเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่า ปัจจุบันมีเรือนโบราณล้านนาจำนวนทั้งสิ้น 10 หลัง และยุ้งข้าว 4 หลัง เรือนส่วนใหญ่ได้รับมอบจากทายาทเจ้าของเรือนให้ขนย้ายมาปลูกสร้างภายในพื้นที่โดยทำการอนุรักษ์ซ่อมแซมให้คงเดิมไว้มากที่สุดItem type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900 | Non-fiction | 727.6 ฐ319ร 2565 (Browse shelf(Opens below)) | 1 | Available | 3000032640 |
มีรายการบรรณานุกรม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้มีการรวบรวมเรือนโบราณมาตั้งแต่ พ.ศ. 2537 จนกระทั่ง พ.ศ. 2545 จึงตั้งชื่อว่า "พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณล้านนา" ต่อมาได้เปิดให้เข้าชมอย่างเป็นทางการโดยมีอัตราธรรมเนียมเข้าชมเป็นครั้งแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 นับเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกในเขตภาคเหนือที่สร้างพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งเป็นแหล่งรวบรวมอนุรักษ์เรือนโบราณลักษณะต่าง ๆ ในเขตลุ่มน้ำปิง ที่มีอายุเวลาร่วมสมัยนับร้อยปี ด้วยเล็งเห็นว่าเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่า ปัจจุบันมีเรือนโบราณล้านนาจำนวนทั้งสิ้น 10 หลัง และยุ้งข้าว 4 หลัง เรือนส่วนใหญ่ได้รับมอบจากทายาทเจ้าของเรือนให้ขนย้ายมาปลูกสร้างภายในพื้นที่โดยทำการอนุรักษ์ซ่อมแซมให้คงเดิมไว้มากที่สุด
อภินันทนาการ 22/10/25
There are no comments on this title.