มิลินทปัญหา ฉบับสมบูรณ์ / สำนักพิมพ์ศรีปัญญา

Call number: 294.38 ม586ม Material type: BookBookPublisher: นนทบุรี : ศรีปัญญา, ม.ป.ปDescription: 783 หน้า ; 22 ซมISBN: 9786164371477 :Subject(s): พุทธศาสนา -- คำถามและคำตอบ | ธรรมะ -- คำถามและคำตอบ | นิทานคติธรรมDDC classification: 294.38 ม586ม Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: "มิลินทปัญหา" เป็นปกรณ์เก่าแก่ที่สำคัญในพระพุทธศาสนาปกรณ์หนึ่ง ไม่ปรากฏว่าผู้ใดเป็นผู้รจนา เชื่อกันว่ามีขึ้น ณ ภูมิภาคทางตอนเหนือของอินเดีย ในราวพุทธศักราช 500 อันสาเหตุมาจากพระคันถรจนาจารย์มีความประสงค์จะชี้แจงข้อพระธรรมในพระพุทธศาสนาให้หายสงสัย โดยใช้การสนทนาระหว่าง "พระยามิสินท์โยนกราช" กับ "พระนาคเสน" อันมีมูลความจริงมาตั้งเป็นเค้า แล้วแต่งอธิบายพระธรรมตามหลักพระพุทธศาสนาเข้าไป กล่าวได้ว่าผู้รจนาคัมภีร์นี้เป็นผู้มีความรู้แตกฉานในพระไตรปิฎก สามารถอ้างได้ทุกคัมภีร์ สำนวนโวหารก็ไพเราะ และที่สำคัญ เป็นผู้ที่ฉลาดปราดเปรื่อง ทั้งในกระบวนการวินิจฉัยและวิสัชนาพระธรรมวินัยให้เข้าใจด้วยอุปมา แสดงหลักเกณฑ์ได้ทั้งด้านอภิปรัชญา จริยศาสตร์และจิตวิทยา อันซึ่งผู้แสวงหาความเข้าใจในพระพุทธศาสนาควรจะได้ศึกษาเป็นอย่างยิ่ง นอกจากนี้ยังมีคุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์และวรรณคดีอีกด้วย
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 294.38 ม586ม (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 3000033015
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 294.38 ม586ม (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 3000033016

"มิลินทปัญหา" เป็นปกรณ์เก่าแก่ที่สำคัญในพระพุทธศาสนาปกรณ์หนึ่ง ไม่ปรากฏว่าผู้ใดเป็นผู้รจนา เชื่อกันว่ามีขึ้น ณ ภูมิภาคทางตอนเหนือของอินเดีย ในราวพุทธศักราช 500 อันสาเหตุมาจากพระคันถรจนาจารย์มีความประสงค์จะชี้แจงข้อพระธรรมในพระพุทธศาสนาให้หายสงสัย โดยใช้การสนทนาระหว่าง "พระยามิสินท์โยนกราช" กับ "พระนาคเสน" อันมีมูลความจริงมาตั้งเป็นเค้า แล้วแต่งอธิบายพระธรรมตามหลักพระพุทธศาสนาเข้าไป กล่าวได้ว่าผู้รจนาคัมภีร์นี้เป็นผู้มีความรู้แตกฉานในพระไตรปิฎก สามารถอ้างได้ทุกคัมภีร์ สำนวนโวหารก็ไพเราะ และที่สำคัญ เป็นผู้ที่ฉลาดปราดเปรื่อง ทั้งในกระบวนการวินิจฉัยและวิสัชนาพระธรรมวินัยให้เข้าใจด้วยอุปมา แสดงหลักเกณฑ์ได้ทั้งด้านอภิปรัชญา จริยศาสตร์และจิตวิทยา อันซึ่งผู้แสวงหาความเข้าใจในพระพุทธศาสนาควรจะได้ศึกษาเป็นอย่างยิ่ง นอกจากนี้ยังมีคุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์และวรรณคดีอีกด้วย

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer