ยุคทองล้านนา ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและสามัญชน / วิชญา มาแก้ว
Call number: 959.3 ว535ย 2564 Material type: BookPublisher: กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2564Description: 416 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซมISBN: 9789740217343 :Subject(s): ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- ล้านนา | ไทย (ภาคเหนือ) -- ประวัติศาสตร์ | ไทย (ภาคเหนือ) -- ภาวะเศรษฐกิจDDC classification: 959.3 ว535ย 2564 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: การค้าระดับใหญ่ของภูมิภาคล้านนาได้สร้างกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทั้งกิจกรรมการผลิต การแลกเปลี่ยน การกระจายทรัพยากรและกิจกรรมการบริโภท ได้นำพาผู้คนต่างชนชั้นมาร่วมปะทะสังสรรค์กัน เกิดการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อสามัญชนซึ่งเกิดเป็นแรงกระเพื่อมต่อกลุ่มพ่อค้า ช่างฝีมือ และไพร่ร่ำรวย ราวกับพวกนี้เป็น คนกลุ่มใหม่ นับเป็นพลังเศรษฐกิจของ หน่ออ่อน แบบเศรษฐกิจแบบทุน หรือตลาด ซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ของล้านนาItem type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900 | Non-fiction | 959.3 ว535ย 2564 (Browse shelf(Opens below)) | 1 | Available | 3000027267 | |
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900 | Non-fiction | 959.3 ว535ย 2564 (Browse shelf(Opens below)) | 2 | Available | 3000027268 |
การค้าระดับใหญ่ของภูมิภาคล้านนาได้สร้างกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทั้งกิจกรรมการผลิต การแลกเปลี่ยน การกระจายทรัพยากรและกิจกรรมการบริโภท ได้นำพาผู้คนต่างชนชั้นมาร่วมปะทะสังสรรค์กัน เกิดการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อสามัญชนซึ่งเกิดเป็นแรงกระเพื่อมต่อกลุ่มพ่อค้า ช่างฝีมือ และไพร่ร่ำรวย ราวกับพวกนี้เป็น คนกลุ่มใหม่ นับเป็นพลังเศรษฐกิจของ หน่ออ่อน แบบเศรษฐกิจแบบทุน หรือตลาด ซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ของล้านนา
Comment by กัญญา จันสะบาน
20/09/2021ในคริสต์ศตวรรษที่ 14-16 ล้านนาซึ่งเป็นแหล่งทรัพยากรของป่าที่สำคัญได้เปิดประตูรับยุคสมัยแห่งการค้าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ล้านนาที่ก่อตัวขึ้นจากเครือรัฐต่างๆ ในดินแดนหุบเขาทางตอนเหนือของประเทศไทย ซึ่งเป็นรัฐตอนในที่ไม่ติดทะเล โดยล้านนาได้อาศัยเครือข่ายระหว่างเมืองและรัฐในการกระจายสินค้าและทรัพยากรจากดินแดนหุบเขาไปสู่เมืองท่าชายฝั่ง เพื่อส่งออกไปขายในตลาดการค้าใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบกับโครงสร้างสังคมและการปกครองของล้านนาเอื้อให้ชนชั้นล่างหรือไพร่มีอิสระในการทำค้า-ทำการผลิตทำให้ไพร่เหล่านี้บางส่วนกลายเป็นทั้งพ่อค้า ช่างฝีมือ และบางคนในพวกนี้สามารถสะสมทุนได้จากการค้าที่รุ่งเรือง และกระจายความมั่งคั่งผ่านการระดมทุนสร้างวัดอันทำให้เกิดจากการจ้างงาน การผลิต และการค้าอีกต่อหนึ่งด้วย