แนวทางและเทคนิคการเขียนผลงานวิชาการ / สัญญา เคณาภูมิ

By: สัญญา เคณาภูมิCall number: 808.066 ส555น 2564 Material type: BookBookPublisher: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564Description: 189 หน้า ; 26 ซมISBN: 9789740339946 :Subject(s): เศรษฐศาสตร์ -- ระเบียบวิธีทางสถิติ | ความน่าจะเป็น | สถิติDDC classification: 808.066 ส555น 2564 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: ความเป็นวิชาการ คือ ความพยายามอธิบายระบบและกลไกของสิ่งใดสิ่งหนึ่งในโลกหรือจักรวาลนี้ว่ามีลักษณะอย่างไรบ้าง ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจำแนกออกเป็นสองสายใหญ่ ๆ ได้แก่ ศาสตร์ธรรมชาติ หรือศาสตร์บริสุทธิ์ (์Natural Science or Pure Science) เป็นองค์ความรู้ที่อธิบายสภาวะของสรรพสิ่งในธรรมชาติ เช่น ดิน ฟ้า อากาศ สัตว์ และทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (Humanity and Social Science) เป็นองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับตัวมนุษย์ทั้งที่เป็นปัจเจกบุคคล (มนุษยศาสตร์) และกลุ่มบุคคล (สังคมศาสตร์) โดยองค์ความรู้ทั้งสองสายนี้มีลักษณะที่เป็นทั้งความรู้พื้นฐาน (Basic Knowledge) ที่อธิบายถึงสภาวะโดยธรรมชาติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งและความรู้ประยุกต์ (Apply Knowledge) ซึ่งเกิดจากมนุษย์พัฒนาต่อยอดเพื่อสนองตอบความต้องการในการนำไปใช้ประโยชน์
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900
Non-fiction 808.066 ส555น 2564 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 3000026223
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900
Non-fiction 808.066 ส555น 2564 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 3000026224

ความเป็นวิชาการ คือ ความพยายามอธิบายระบบและกลไกของสิ่งใดสิ่งหนึ่งในโลกหรือจักรวาลนี้ว่ามีลักษณะอย่างไรบ้าง ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจำแนกออกเป็นสองสายใหญ่ ๆ ได้แก่ ศาสตร์ธรรมชาติ หรือศาสตร์บริสุทธิ์ (์Natural Science or Pure Science) เป็นองค์ความรู้ที่อธิบายสภาวะของสรรพสิ่งในธรรมชาติ เช่น ดิน ฟ้า อากาศ สัตว์ และทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (Humanity and Social Science) เป็นองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับตัวมนุษย์ทั้งที่เป็นปัจเจกบุคคล (มนุษยศาสตร์) และกลุ่มบุคคล (สังคมศาสตร์) โดยองค์ความรู้ทั้งสองสายนี้มีลักษณะที่เป็นทั้งความรู้พื้นฐาน (Basic Knowledge) ที่อธิบายถึงสภาวะโดยธรรมชาติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งและความรู้ประยุกต์ (Apply Knowledge) ซึ่งเกิดจากมนุษย์พัฒนาต่อยอดเพื่อสนองตอบความต้องการในการนำไปใช้ประโยชน์

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer