คร่าวเชียงแสนแตก วรรณกรรมบันทึกเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ / ธวัชชัย ทำทอง
Call number: 959.3 ธ394ค 2563 Material type: BookPublisher: ลำปาง : สำนักศิลปะและวัฒนธรรม, 2563Description: 95 หน้า : ภาพประกอบสี ; 21 ซมISBN: 9786168074145Subject(s): วรรณกรรม | เชียงแสน -- ประวัติศาสตร์DDC classification: 959.3 ธ394ค 2563 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: เนื้อหาในคร่าวเชียงแสนแตกมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง เนื่อจากเป็นการบรรยายเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ในการขับไล่อำนาจของพม่าใหม่หมดไปจากดินแดนล้านนา ซึ่งนำไปสู่การอพยพผู้คนในเมืองเชียงแสนให้ไปอยู่ตามหัวเมืองต่างๆ เพื่อเป็นการป้องกันมิให้พม่ากลับมาใช้เมืองเชียงแสนเป็นฐานที่มั่นของกองทัพได้อีก อีกทั้งได้แสดงอารมณ์ความรู้สึกทั้งฝ่ายทหารผู้เดินทัพไปโจมตี และเชลยศึกผู้จำต้องละทิ้งบ้านเรือนด้วยความจำยอมเหตุการณ์ต่างๆ เหล่านี้ได้สะท้อนภาพการทำสงครามของสังคมล้านนาโบราณเป็นอย่างดีItem type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900 | Non-fiction | 959.3 ธ394ค 2563 (Browse shelf(Opens below)) | 1 | Available | 3000026444 |
Browsing สำนักวิทยบริการ (Center) shelves, Shelving location: ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900, Collection: Non-fiction Close shelf browser (Hides shelf browser)
959.3 ธ117ม 2562 เมื่อสยามพลิกผัน / | 959.3 ธ117อ 2562 ออกนอกขนบประวัติศาสตร์ไทย : | 959.3 ธ117อ 2562 ออกนอกขนบประวัติศาสตร์ไทย : | 959.3 ธ394ค 2563 คร่าวเชียงแสนแตก วรรณกรรมบันทึกเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ / | 959.3 น164ก 2544 กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร / | 959.3 น417ร 2564 รายงานข่าวกรองย้อนหลัง "คดีสวรรคต" และผลการสนธิกรรมข้อเท็จจริง กรณีศึกษา ม.112 จากคดีอากง ดา ตอร์ปิโด และ UN พระคลังข้างที่ใต้เงาปีกคณะราษฎร / | 959.3 น417ร 2564 รายงานข่าวกรองย้อนหลัง "คดีสวรรคต" และผลการสนธิกรรมข้อเท็จจริง กรณีศึกษา ม.112 จากคดีอากง ดา ตอร์ปิโด และ UN พระคลังข้างที่ใต้เงาปีกคณะราษฎร / |
อภินันทนาการ
เนื้อหาในคร่าวเชียงแสนแตกมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง เนื่อจากเป็นการบรรยายเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ในการขับไล่อำนาจของพม่าใหม่หมดไปจากดินแดนล้านนา ซึ่งนำไปสู่การอพยพผู้คนในเมืองเชียงแสนให้ไปอยู่ตามหัวเมืองต่างๆ เพื่อเป็นการป้องกันมิให้พม่ากลับมาใช้เมืองเชียงแสนเป็นฐานที่มั่นของกองทัพได้อีก อีกทั้งได้แสดงอารมณ์ความรู้สึกทั้งฝ่ายทหารผู้เดินทัพไปโจมตี และเชลยศึกผู้จำต้องละทิ้งบ้านเรือนด้วยความจำยอมเหตุการณ์ต่างๆ เหล่านี้ได้สะท้อนภาพการทำสงครามของสังคมล้านนาโบราณเป็นอย่างดี
There are no comments on this title.