เรือเครื่องผูก ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์นับพันปี / เอิบเปรม วัชรางกูร และยุวดี วัชรางกูร
Call number: 950 อ922ร 2562 Material type:![Book](/opac-tmpl/lib/famfamfam/BK.png)
Item type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900 | Non-fiction | 950 อ922ร 2562 (Browse shelf(Opens below)) | 1 | Available | 3000025040 | |
![]() |
สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900 | Non-fiction | 950 อ922ร 2562 (Browse shelf(Opens below)) | 2 | Available | 3000025041 |
Browsing สำนักวิทยบริการ (Center) shelves, Shelving location: ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900, Collection: Non-fiction Close shelf browser (Hides shelf browser)
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
||
949.512 ม439ย 2563 24 ชั่วโมงในเอเธนส์โบราณ : ชีวิตในหนึ่งวันของผู้คนที่นั่น / | 950 ว527ป 2561 ประวัติศาสตร์เอเชีย / | 950 ว527ป 2561 ประวัติศาสตร์เอเชีย / | 950 อ922ร 2562 เรือเครื่องผูก ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์นับพันปี / | 950 อ922ร 2562 เรือเครื่องผูก ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์นับพันปี / | 950.4 ฟ859อ 2564 ล.1 เอเชียตะวันออกยุคใหม่ : จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน เล่ม 1 / | 950.4 ฟ859อ 2564 ล.2 เอเชียตะวันออกยุคใหม่ : จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน เล่ม 2 / |
แคมป์ข้างเมรุ กับ ซากเรือใต้บ่อกุ้ง -- ตามรอย...ต้นทางเรือเครื่องผูก -- เรือพันปี เชื่อมอดีตสองซีกโลก -- บรรพชนแห่งดินแดนพระจันทร์เสี้ยว -- บรรพชนแห่งลุ่มน้ำฮวงโหถึงลุ่มน้ำแยงซี -- เส้นทางสายแพรไหมทางทะเล -- เส้นทางสายเครื่องเทศของชาวยุโรป
520 _aหลักฐานซากเรือเครื่องผูกเก่าแก่ที่สุด พบที่มหาพีระมิดแห่งกีเซ ประเทศอียิปต์ นักโบราณคดีชาวอียิปต์พบซากเรือ ทั้งภายในและภายนอกสุสานฟาโรห์คูฟู อายุราว 4,500 ปีมาแล้ว แสดงให้เห็นว่าเทคนิคการต่อเรือเครื่องผูก อาจมีต้นกําเนิดในแถบทะเลแดง ก่อนแพร
หลักฐานซากเรือเครื่องผูกเก่าแก่ที่สุด พบที่มหาพีระมิดแห่งกีเซ ประเทศอียิปต์ นักโบราณคดีชาวอียิปต์พบซากเรือ ทั้งภายในและภายนอกสุสานฟาโรห์คูฟู อายุราว 4,500 ปีมาแล้ว แสดงให้เห็นว่าเทคนิคการต่อเรือเครื่องผูก อาจมีต้นกําเนิดในแถบทะเลแดง ก่อนแพร่กระจายไปยังอ่าวเปอร์เซีย มหาสมุทรอินเดีย ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ไปจนถึงชายฝั่งตะวันออกของแอฟริกา หมู่เกาะอินโดนีเซีย และหมู่เกาะฟิลิปปินส์ โดยรูปทรงของเรือมีรูปร่างแตกต่าง ไปตามความนิยมของแต่ละท้องถิ่น ข้อมูลจากหนังสือ “Guide to the Pyramids of Egypt” เขียนโดย Alberto Siliotti จัดพิมพ์ปี ค.ศ. 1997 (พ.ศ. 2540) ที่ประเทศอียิปต์ อธิบายเกี่ยวกับซากเรือโบราณภายในมหาพีระมิดแห่งกีเซว่า เรือในแง่วัฒนธรรมไม่ได้มีหน้าที่เฉพาะเป็นพาหนะสําหรับขนส่ง หรือใช้ในการประมงเท่านั้น หากมีนัยสําคัญเกี่ยวกับคติความเชื่อ นั่นคือเป็นพาหนะของเทพเจ้า
There are no comments on this title.