รายงานการวิจัยโครงการพัฒนานโยบายและองค์ความรู้ ด้านการศึกษานานาชาติเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ในศกวรรษที่ 21: ข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวทางการพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศในระดับนานาชาติ(ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี) /
รายงานการวิจัยโครงการพัฒนานโยบายและองค์ความรู้ ด้านการศึกษานานาชาติเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ในศกวรรษที่ 21: ข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวทางการพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศในระดับนานาชาติ(ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี) /
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
- กรุงเทพฯ: กลุ่มนโยบายด้านการศึกษากับต่างประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ, 2566
- 311 หน้า ; 26 ซม.
งานวิจัยนี้เป็นการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวทางการพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สู่ความเป็นเลิศในระดับนานาชาติ วิธีการดำเนินการวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัย 3 ระยะได้แก่ ระยะที่1 การสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ 5 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร เครือรัฐออสเตรเลีย สิงคโปร์ และญี่ปุ่น ระยะที่2 การสำรวจสถานภาพการพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในประเทศไทย ด้วยวิธีการเชิงปริมาณและคุณภาพ ระยะที่3 การนำเสนอผลการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายแนวทางการพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสู่ความเป็นเลิศในระดับนานาชาติ ด้วยการสนทนากลุ่ม
9786162704093 :
การพัฒนาการศึกษา--วิจัย--ไทย
การพัฒนาเยาวชน
นโยบายการศึกษา--วิจัย--ไทย
งานวิจัยนี้เป็นการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวทางการพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สู่ความเป็นเลิศในระดับนานาชาติ วิธีการดำเนินการวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัย 3 ระยะได้แก่ ระยะที่1 การสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ 5 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร เครือรัฐออสเตรเลีย สิงคโปร์ และญี่ปุ่น ระยะที่2 การสำรวจสถานภาพการพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในประเทศไทย ด้วยวิธีการเชิงปริมาณและคุณภาพ ระยะที่3 การนำเสนอผลการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายแนวทางการพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสู่ความเป็นเลิศในระดับนานาชาติ ด้วยการสนทนากลุ่ม
9786162704093 :
การพัฒนาการศึกษา--วิจัย--ไทย
การพัฒนาเยาวชน
นโยบายการศึกษา--วิจัย--ไทย