การให้คำปรึกษาภาคปฏิบัติ = Counseling in practice /
นันทา สู้รักษา
การให้คำปรึกษาภาคปฏิบัติ = Counseling in practice / Counseling in practice นันทา สู้รักษา - กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2564 - iii, 420 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
บทที่ 1 ลักษณะและวัตถุประสงค์ของการให้การปรึกษา -- บทที่ 2 สัมพันธภาพและคุณลักษณะที่สำคัญของผู้ให้การปรึกษา -- บทที่ 3 ทักษะพื้นฐานในการสื่อสาร การสนทนาเพื่อการบำบัด -- บทที่ 4 การสื่อสารความเห็นอกเห็นใจและการตรวจสอบความเข้าใจ -- บทที่ 5 ศิลปะการไต่ถามและการสรุปความ -- บทที่ 6 การช่วยให้ผู้รับการปรึกษาท้าทายตนเอง -- บทที่ 7 ทักษะในการท้าทาย -- บทที่ 8 การช่วยผู้รับการปรึกษาสำรวจปัญหา -- บทที่ 9 การช่วยผู้รับการปรึกษาระบุเลือกและปรับเป้าหมายการจัดการปัญหา -- บทที่ 10 การช่วยผู้รับการปรึกษาสร้างกลยุทธ์และวางแผนเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย -- บทที่ 11 แนวทางการปฏิบัติ: การช่วยให้ผู้รับการปรึกษาพิชิตอุปสรรค การดำเนินการตามแผนงานและเกิดผลงาน.
หนังสือเล่มนี้ เหมาะสำหรับครูแนะแนว นักให้การปรึกษา นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ตลอดจนนักเรียน นิสิต นักศึกษา ที่กำลังศึกษาด้านจิตวิทยาการให้การปรึกษา โดยเนื้อหาเป็นเรื่องเกี่ยวกับการให้การปรึกษา (Counseling) การสอนงาน (Coaching) หรืออาจใช้ทับศัพท์ว่า "การโค้ช" ซึ่งอาจรวมการโค้ชเรื่องงาน และเรื่องชีวิต หรือการเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) ซึ่งกระบวนการทั้งสามนี้เป็นการช่วยให้บุคคลนำตนเอง ออกจากสถานการณ์ปัญหาหรืออุปสรรคของชีวิตในเรื่องต่าง ๆ และพัฒนาตนเองตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้
เนื้อหาในหนังสือมีกรณีศึกษาและตัวอย่างสถานการณ์ของการให้ความช่วยเหลือหลายแบบแทรกในทุกบท โดยมีหลักคิดคือ "เพื่อการแก้ปัญหาและพัฒนาโอกาส" ตามแบบจำลองและลำดับขั้นการให้การปรึกษา ซึ่งเรียบเรียงจากหลักวิชาการและประสบการณ์ของผู้ให้การปรึกษา ทักษะพื้นฐานในการสื่อสาร การสนทนาเพื่อบำบัด ความเห็นอกเห็นใจ ศิลปะการไต่ถาม การสรุปความ การสร้างทักษะ การช่วยให้ผู้ได้รับการปรึกษาท้าทายตนเอง สำรวจปัญหา หาแนวทางปฏิบัติให้สามารถดำเนินการตามแผนงานและเกิดผล ไปจนถึงกระบวนการขั้นสุดท้าย คือ การยุติสัมพันธภาพและเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงชีวิตตนเองโดยพัฒนาตนอย่างต่อเนื่อง
9786164820579 :
การให้คำปรึกษา
การแนะแนวการศึกษา
158.3 / น426ก 2564
การให้คำปรึกษาภาคปฏิบัติ = Counseling in practice / Counseling in practice นันทา สู้รักษา - กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2564 - iii, 420 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
บทที่ 1 ลักษณะและวัตถุประสงค์ของการให้การปรึกษา -- บทที่ 2 สัมพันธภาพและคุณลักษณะที่สำคัญของผู้ให้การปรึกษา -- บทที่ 3 ทักษะพื้นฐานในการสื่อสาร การสนทนาเพื่อการบำบัด -- บทที่ 4 การสื่อสารความเห็นอกเห็นใจและการตรวจสอบความเข้าใจ -- บทที่ 5 ศิลปะการไต่ถามและการสรุปความ -- บทที่ 6 การช่วยให้ผู้รับการปรึกษาท้าทายตนเอง -- บทที่ 7 ทักษะในการท้าทาย -- บทที่ 8 การช่วยผู้รับการปรึกษาสำรวจปัญหา -- บทที่ 9 การช่วยผู้รับการปรึกษาระบุเลือกและปรับเป้าหมายการจัดการปัญหา -- บทที่ 10 การช่วยผู้รับการปรึกษาสร้างกลยุทธ์และวางแผนเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย -- บทที่ 11 แนวทางการปฏิบัติ: การช่วยให้ผู้รับการปรึกษาพิชิตอุปสรรค การดำเนินการตามแผนงานและเกิดผลงาน.
หนังสือเล่มนี้ เหมาะสำหรับครูแนะแนว นักให้การปรึกษา นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ตลอดจนนักเรียน นิสิต นักศึกษา ที่กำลังศึกษาด้านจิตวิทยาการให้การปรึกษา โดยเนื้อหาเป็นเรื่องเกี่ยวกับการให้การปรึกษา (Counseling) การสอนงาน (Coaching) หรืออาจใช้ทับศัพท์ว่า "การโค้ช" ซึ่งอาจรวมการโค้ชเรื่องงาน และเรื่องชีวิต หรือการเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) ซึ่งกระบวนการทั้งสามนี้เป็นการช่วยให้บุคคลนำตนเอง ออกจากสถานการณ์ปัญหาหรืออุปสรรคของชีวิตในเรื่องต่าง ๆ และพัฒนาตนเองตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้
เนื้อหาในหนังสือมีกรณีศึกษาและตัวอย่างสถานการณ์ของการให้ความช่วยเหลือหลายแบบแทรกในทุกบท โดยมีหลักคิดคือ "เพื่อการแก้ปัญหาและพัฒนาโอกาส" ตามแบบจำลองและลำดับขั้นการให้การปรึกษา ซึ่งเรียบเรียงจากหลักวิชาการและประสบการณ์ของผู้ให้การปรึกษา ทักษะพื้นฐานในการสื่อสาร การสนทนาเพื่อบำบัด ความเห็นอกเห็นใจ ศิลปะการไต่ถาม การสรุปความ การสร้างทักษะ การช่วยให้ผู้ได้รับการปรึกษาท้าทายตนเอง สำรวจปัญหา หาแนวทางปฏิบัติให้สามารถดำเนินการตามแผนงานและเกิดผล ไปจนถึงกระบวนการขั้นสุดท้าย คือ การยุติสัมพันธภาพและเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงชีวิตตนเองโดยพัฒนาตนอย่างต่อเนื่อง
9786164820579 :
การให้คำปรึกษา
การแนะแนวการศึกษา
158.3 / น426ก 2564